ฟุตบอลทีมชาติบาห์เรน
หน้าตา
Shirt badge/Association crest | |||
ฉายา | อัลอะห์มัร Al-Ahmar (The Red) | ||
---|---|---|---|
สมาคม | สมาคมฟุตบอลบาห์เรน (BFA) | ||
สมาพันธ์ย่อย | สหพันธ์ฟุตบอลเอเชียตะวันตก (WAFF) | ||
สมาพันธ์ | เอเอฟซี (ทวีปเอเชีย) | ||
หัวหน้าผู้ฝึกสอน | เซอร์จิโอ บาติสตา | ||
ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน | มาร์ติน เพิร์ท | ||
กัปตัน | มุฮัมมัด ฮุเซน | ||
ติดทีมชาติสูงสุด | ซัลมาน อีซา ฆุลูม (156) | ||
ทำประตูสูงสุด | อิสมาอิล ฮัสซัน อับดุล ลาติฟ (34) | ||
สนามเหย้า | สนามกีฬาแห่งชาติบาห์เรน | ||
รหัสฟีฟ่า | BHR | ||
| |||
อันดับฟีฟ่า | |||
อันดับปัจจุบัน | 81 1 (20 มิถุนายน 2024)[1] | ||
อันดับสูงสุด | 44 (กันยายน พ.ศ. 2547) | ||
อันดับต่ำสุด | 139 (มีนาคม พ.ศ. 2543) | ||
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก | |||
บาห์เรน 4 - 4 คูเวต (แบกแดด, อิรัก; 2 เมษายน, พ.ศ. 2509) | |||
ชนะสูงสุด | |||
บาห์เรน 10 - 0 อินโดนีเซีย (บาห์เรน; 29 กุมภาพันธ์, พ.ศ. 2555) | |||
แพ้สูงสุด | |||
อิรัก 10 - 1 บาห์เรน (แบกแดด, อิรัก; 6 เมษายน, พ.ศ. 2509) | |||
เอเอฟซี เอเชียนคัพ | |||
เข้าร่วม | 7 (ครั้งแรกใน 1988) | ||
ผลงานดีที่สุด | อันดับ 4, 2004 |
ฟุตบอลทีมชาติบาห์เรน (อาหรับ: منتخب البحرين لكرة القدم) เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนจาก ราชอาณาจักรบาห์เรน อยู่ภายใต้การควบคุมของ สมาคมฟุตบอลบาห์เรน ทีมชาติบาห์เรนก่อตั้งในปี พ.ศ. 2494 และเข้าร่วมฟีฟ่าในปี 2509 ทีมบาห์เรนยังไม่เคยเข้าร่วมฟุตบอลโลก แต่ในระดับเอเชียแล้ว ทีมชาติบาห์เรนได้อันดับ 4 ใน เอเชียนคัพ 2004 และในปีนั้นทีมบาห์เรนได้รับรางวัลทีมที่มีการพัฒนามากที่สุดจากฟีฟ่า ในปี 2547
ผลงาน
[แก้]- 1930-1974 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 1978-1986 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
- 1990 - ถอนตัว
- 1994-2022 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
- 1956-1968 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 1972 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
- 1976, 1980 - ถอนตัว
- 1984 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 1988 - รอบแรก
- 1992 - ไม่ได้เข้าร่วม
- 1996 - ถอนตัว
- 2000 - ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
- 2004 - อันดับ 4 (สูงสุด)
- 2007 - รอบแรก
- 2019 - รอบ 16 ทีมสุดท้าย
- 2023 - รอบ 16 ทีมสุดท้าย
- ↑ "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 20 มิถุนายน 2024. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2024.