พ.ศ. 2543
หน้าตา
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2543 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 2000 MM |
Ab urbe condita | 2753 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1449 ԹՎ ՌՆԽԹ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6750 |
ปฏิทินบาไฮ | 156–157 |
ปฏิทินเบงกอล | 1407 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2950 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 48 Eliz. 2 – 49 Eliz. 2 |
พุทธศักราช | 2544 |
ปฏิทินพม่า | 1362 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7508–7509 |
ปฏิทินจีน | 己卯年 (เถาะธาตุดิน) 4696 หรือ 4636 — ถึง — 庚辰年 (มะโรงธาตุโลหะ) 4697 หรือ 4637 |
ปฏิทินคอปติก | 1716–1717 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3166 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1992–1993 |
ปฏิทินฮีบรู | 5760–5761 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2056–2057 |
- ศกสมวัต | 1922–1923 |
- กลียุค | 5101–5102 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 12000 |
ปฏิทินอิกโบ | 1000–1001 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1378–1379 |
ปฏิทินอิสลาม | 1420–1421 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชเฮเซ 12 (平成12年) |
ปฏิทินจูเช | 89 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4333 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 89 民國89年 |
เวลายูนิกซ์ | 946684800–978307199 |
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ พ.ศ. 2543
พุทธศักราช 2543 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2000 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันเสาร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
- ปีมะโรง โทศก จุลศักราช 1362 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
- ปีสุดท้ายของคริสต์สหัสวรรษที่ 2 และคริสต์ศตวรรษที่ 20 แต่เป็นปีแรกของคริสต์ทศวรรษ 2000
- ปีสากลเพื่อวัฒนธรรมแห่งสันติภาพ[1] และปีคณิตศาสตร์โลก[2]
ผู้นำประเทศไทย
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559)
- นายกรัฐมนตรี: นายชวน หลีกภัย (9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540 – 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544)
เหตุการณ์
[แก้]มกราคม
[แก้]- 6 มกราคม – พีเรเนียนไอเบ็กซ์ที่เกิดตามธรรมชาติตัวสุดท้ายตายลง ซึ่งเห็นได้ชัดว่าถูกต้นไม้ล้มตาย[3]
- 14 มกราคม – ดัชนีอุตสาหกรรมดาวโจนส์ปิดตลาดที่ 11,722.98 (จุดสูงสุดของภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ดอตคอม)[4]
กุมภาพันธ์
[แก้]- 17 กุมภาพันธ์ - ไมโครซอฟท์ เปิดตัว วินโดวส์ 2000
มีนาคม
[แก้]- 10 มีนาคม - ดัชนีตลาดหลักทรัพย์แนสแด็ก ขึ้นถึงจุดสูงสุดที่ 5,048 จุด[5] ในช่วงที่ธุรกิจดอตคอมเฟื่องฟู
พฤษภาคม
[แก้]- 24 พฤษภาคม - ประเทศอิสราเอลถอนกำลังออกจากทางใต้ของประเทศเลบานอนหลังจากยึดครองมานาน 22 ปี
มิถุนายน
[แก้]- 13 มิถุนายน - คิม แดจุง ประธานาธิบดีเกาหลีใต้ พบปะกับ คิม จองอิล ผู้นำเกาหลีเหนือ ในการประชุมสุดยอดครั้งแรกระหว่างเกาหลี ณ กรุงเปียงยาง
กรกฎาคม
[แก้]- 25 กรกฎาคม - เครื่องบินคองคอร์ดของสายการบินแอร์ฟรานซ์ เที่ยวบิน 4590 เกิดอุบัติเหตุตก หลังทะยานขึ้นจากท่าอากาศยานใกล้กรุงปารีส ทำให้ผู้โดยสารเสียชีวิต 113 คน
สิงหาคม
[แก้]- 5 สิงหาคม - กลุ่มเจไอลอบวางระเบิดโรงแรม เจ ดับบลิว แมริออตในกรุงจาการ์ตา อินโดนีเซีย
- 12 สิงหาคม - โศกนาฏกรรมเรือดำน้ำนิวเคลียร์ K-141 Kursk ของรัสเซีย เกิดอุบัติเหตุจากตอร์ปิโดทำให้เรือเสียหายอย่างหนักและจมลงในทะเลแบเร็นตส์และทำให้ลูกเรือเสียชีวิตจำนวน 118 นาย(ลูกเรือทั้งหมด)
กันยายน
[แก้]- 15 กันยายน - มหกรรมกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 27 จัดขึ้นที่นครซิดนีย์ รัฐนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย
- 9 กันยายน - รายการคดีเด็ด ออกอากาศเป็นเทปแรกทางช่อง 7HD
ตุลาคม
[แก้]- 1 ตุลาคม - ทหารไม่ระบุกลุ่มวางระเบิดโบสถ์คริสต์ในเมืองดูชานเบ ประเทศทาจิกิสถาน ทำให้มีผู้เสียชีวิต 7 คน
- 7 ตุลาคม - เจ้าชายอ็องรี แกรนด์กยุกรัชทายาทแห่งลักเซมเบิร์ก เสด็จขึ้นครองราชย์เป็น แกรนด์ดยุกแห่งลักเซมเบิร์ก หลังจาก แกรนด์ดยุกฌ็องแห่งลักเซมเบิร์ก พระราชบิดา สละราชสมบัติ
- 12 ตุลาคม - มีการลอบนำดินระเบิดไปทำลายยูเอสเอสโคล ของสหรัฐที่เมืองเอเดน ประเทศเยเมน มีผู้เสียชีวิต17 คน สันนิษฐานว่าเป็นฝีมือของโอซามา บิน ลาเดน
พฤศจิกายน
[แก้]- 2 พฤศจิกายน - นักบินอวกาศชุดแรกเดินทางถึงสถานีอวกาศนานาชาติ
- 24 พฤศจิกายน - นักสู้เสรีกัมพูชาก่อการจลาจลในกรุงพนมเปญ มีการปะทะกับเจ้าหน้าที่ตำรวจ มีผู้เสียชีวิต 200 คน
ธันวาคม
[แก้]- 3 ธันวาคม – ทีมฟุตซอลทีมชาติสเปนได้รับตำแหน่งชนะเลิศในรายการฟุตซอลโลก 2000 ที่สาธารณรัฐกัวเตมาลา ด้วยการเอาชนะทีมฟุตซอลทีมชาติบราซิลในรอบชิงชนะเลิศ 4 ประตูต่อ 3
- 30 ธันวาคม - เกิดการลอบวางระเบิดบริเวณจตุรัสหน้าสถานทูตสหรัฐในฟิลิปปินส์ เสียชีวิต 22 ราย คาดว่าเป็นฝีมือแนวร่วมปลดปล่อยอิสลามโมโร
ไม่ทราบวัน
[แก้]- ค้นพบ ธาตุลิเวอร์มอเรียม
วันเกิด
[แก้]มกราคม
[แก้]- 6 มกราคม- เยว่ ชูหฺวา ศิลปินkpopชาวไต้หวัน
- 8 มกราคม - โนอาห์ ไซรัส นักร้องและนักแสดงชาวอเมริกา
- 11 มกราคม - อี แช-ย็อน ศิลปินชาวเกาหลีใต้
กุมภาพันธ์
[แก้]- 4 กุมภาพันธ์ - กันตภณ จินดาทวีผล นักร้อง และนักแสดงชาวไทย
- 12 กุมภาพันธ์ - คิม จี-มิน นักแสดงชาวเกาหลีใต้
มีนาคม
[แก้]- 3 มีนาคม - หรนาซ สันธู นางแบบและนางงามชาวอินเดีย
- 15 มีนาคม - พงศ์ทิวัตถ์ ตั้งวันเจริญ (บลู) นักแสดง และนายแบบชาวไทย
เมษายน
[แก้]- 21 เมษายน - นนทพัทธ์ คูปรีชา นักร้องและนักลงทุนชาวไทย
พฤษภาคม
[แก้]- 27 พฤษภาคม - รักษ์วนีย์ คำสิงห์ นักแสดงและยูทูปเบอร์ชาวไทย ลูกสาวของ สมรักษ์ คำสิงห์
มิถุนายน
[แก้]- 16 มิถุนายน - บาเลนตินา ฟิเกรา นางแบบและนางงามชาวเวเนซุเอลา
กรกฎาคม
[แก้]- 7 กรกฎาคม - เจ้าหญิงปูรณิกาแห่งเนปาล
- 8 กรกฎาคม - ธัญญภัสร์ ภัทรธีรชัยเจริญ (น้ำฟ้า) นักแสดงชาวไทย
- 9 กรกฎาคม - ชินพรรธน์ กิติชัยวรางค์กูร (ฟลุท) นักแสดงชาวไทย
- 30 กรกฎาคม - ญานนีน ภารวี ไวเกล (พลอยชมพู) นักร้อง และนักแสดงลูกครึ่งไทย-เยอรมัน
- 31 กรกฎาคม - คิม แซ-รน นักแสดงชาวเกาหลีใต้
กันยายน
[แก้]- 27 กันยายน - พิสิฐพล เอกพงศ์พิสิฐ นักแสดงชาวไทย
ตุลาคม
[แก้]- 10 ตุลาคม - วชิรวิชญ์ วัฒนภักดีไพศาล (ริว) นักร้อง นักแสดง และนายแบบชาวไทย
- 31 ตุลาคม - วิลโลว์ สมิธ นักร้อง นักแสดงชาวอเมริกัน
พฤศจิกายน
[แก้]- 20 พฤศจิกายน - คอนนี ทัลบอต นักร้อง นักแสดงชาวอังกฤษ
- 9 พฤศจิกายน - ปัญสิกรณ์ ติยะกร (ปัญ) อดีตสมาชิกวง BNK48
- 5 พฤศจิกายน - จรัสรวี เทียมรัตน์ นักร้องชาวไทย วง New Country
ธันวาคม
[แก้]- 18 ธันวาคม - กรภัทร์ เกิดพันธุ์ (นนน) นักแสดงชาวไทย
วันถึงแก่กรรม
[แก้]- 2 มิถุนายน - มาโนช ฤทธิ์เต็ม นักร้องเพื่อชีวิตชายชาวไทย (เกิด 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2505)
- 16 มิถุนายน - จักรพรรดินีโคจุงแห่งญี่ปุ่น (พระราชสมภพ 6 มีนาคม พ.ศ. 2446)
- 14 สิงหาคม - หม่อมเจ้าพิริยดิศ ดิศกุล (ประสูติ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2464)
- 7 พฤศจิกายน - อิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก (พระราชสมภพ 28 มีนาคม พ.ศ. 2453)
- สาขาเคมี – Alan J. Heeger, Alan G MacDiarmid, Hideki Shirakawa
- สาขาวรรณกรรม – เกา ซิงเจี้ยน
- สาขาสันติภาพ – คิม แดจุง
- สาขาฟิสิกส์ – Zhores Ivanovich Alferov, Herbert Kroemer, Jack Kilby
- สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – อาร์วิด คาร์ลสัน, พอล กรีนการ์ด, อีริค อาร์. แคนเดล
- สาขาเศรษฐศาสตร์ – James J. Heckman, Daniel McFadden
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "2000: International Year for the Culture of Peace". UNESCO. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 24, 2001.
- ↑ "Isaac Newton Maths posters in the London Underground". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 10, 2013. สืบค้นเมื่อ July 23, 2009.
- ↑ Smith, Kiona N. (January 23, 2021). "The Species That Went Extinct Twice". Forbes. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 31, 2021.
- ↑ "Dow Jones". U.S. Securities and Exchanges Commission. สืบค้นเมื่อ July 25, 2018.
- ↑ Fifth Anniversary: Nasdaq's record all-time closing high 5,048.62. Retrieved November 19, 2007.