คิ
หน้าตา
ฮิรางานะ |
คาตากานะ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
การถอดอักษร | ki | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
+ดากูเต็ง | gi | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
+ฮันดากูเต็ง | (ngi) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มังโยงานะ ของฮิรางานะ |
幾 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
มังโยงานะ ของคาตากานะ |
幾 | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสเรียกขาน | 切手のキ (คิตเตะ โนะ คิ) | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
รหัสมอร์ส | -・-・・ | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
อักษรเบรลล์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ยูนิโคด | U+304D, U+30AD | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
|
คิ เป็นคะนะของภาษาญี่ปุ่นตัวหนึ่ง ฮิระงะนะเขียนว่า き มีที่มาจากตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 幾 และคะตะกะนะเขียนว่า キ มีที่มาจากการดัดแปลงตัวเขียนหวัดของมันโยงะนะ 幾 ออกเสียงว่า เมื่อเติมดะกุเต็งจะออกเสียงว่า ในพยางค์แรก และแปรเสียงอยู่ระหว่าง [ŋi] กับ [ɣi] ในพยางค์อื่น
き เป็นอักษรลำดับที่ 7 อยู่ระหว่าง か (คะ) กับ く (คุ) ในการจัดลำดับอักษรปัจจุบัน ส่วนการจัดลำดับแบบอิโระฮะ き เป็นอักษรลำดับที่ 38 อยู่ระหว่าง さ (ซะ) กับ ゆ (ยุ)
รูปแบบ | โรมะจิ | ฮิระงะนะ | คะตะกะนะ | เสียงอ่าน | รูปแบบ | โรมะจิ | ฮิระงะนะ | คะตะกะนะ | เสียงอ่าน | รูปแบบ | โรมะจิ | ฮิระงะนะ | คะตะกะนะ | เสียงอ่าน |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ธรรมดา | ki | き | キ | คิ-กิ | ธรรมดา +ดะกุเต็ง |
gi | ぎ | ギ | กิ-งิ | ธรรมดา +ฮันดะกุเต็ง |
(ngi) | き゚ | キ゚ | งิ |
kī | きい, きぃ きー, き~ |
キイ, キィ キー, キ~ |
คี-กี | gī | ぎい, ぎぃ ぎー, ぎ~ |
ギイ, ギィ ギー, ギ~ |
กี-งี | (ngī) | き゚い, き゚ぃ き゚ー, き゚~ |
キ゚イ, キ゚ィ キ゚ー, キ゚~ |
งี | |||
ทวิอักษร | kya | きゃ | キャ | เคียะ-เกียะ | ทวิอักษร +ดะกุเต็ง |
gya | ぎゃ | ギャ | เกียะ-เงียะ | ทวิอักษร +ฮันดะกุเต็ง |
(ngya) | き゚ゃ | キ゚ャ | เงียะ |
kyu | きゅ | キュ | คิว-กิว | gyu | ぎゅ | ギュ | กิว-งิว | (ngyu) | き゚ゅ | キ゚ュ | งิว | |||
kye | きぇ | キェ | คฺเยะ-กฺเยะ | gye | ぎぇ | ギェ | กฺเยะ-งฺเยะ | (ngye) | き゚ぇ | キ゚ェ | งฺเยะ | |||
kyo | きょ | キョ | เคียว-เกียว | gyo | ぎょ | ギョ | เกียว-เงียว | (ngyo) | き゚ょ | キ゚ョ | เงียว |
อักษรแบบอื่น
[แก้]ข้อความภาษาญี่ปุ่นทั่วไปไม่เติมฮันดะกุเต็งบนคิ แต่อาจนักภาษาศาสตร์อาจเติมฮันดะกุเต็งบนคิ き゚, キ゚ เพื่อแสดงเสียง [ŋi]
อักขระ | ยูนิโคด | จิส เอกซ์ 0213[1] | ความหมาย |
---|---|---|---|
き | U+304D | 1-4-13 | ฮิระงะนะ คิ |
ぎ | U+304E | 1-4-14 | ฮิระงะนะ กิ |
き゚ | U+304D U+309A | 1-4-88 | ฮิระงะนะ งิ |
キ | U+30AD | 1-5-13 | คะตะกะนะ คิ |
ギ | U+30AE | 1-5-14 | คะตะกะนะ กิ |
キ゚ | U+30AD U+309A | 1-5-88 | คะตะกะนะ งิ |
㋖ | U+32D6 | 1-12-65 | คะตะกะนะ คิ ในวงกลม |
キ | U+FF77 | ไม่มี | คะตะกะนะ คิ ครึ่งความกว้าง |
ลำดับขีด
[แก้]ฮิระงะนะ き มีลำดับขีด 3 หรือ 4 ขีดดังนี้
- ขีดเส้นนอนเฉียงขึ้นเล็กน้อยจากซ้ายไปขวา ในตำแหน่งกึ่งบน
- ขีดเส้นนอนเฉียงขึ้นเล็กน้อยจากซ้ายไปขวา ในตำแหน่งกลาง
- ขีดเส้นเฉียงลงด้านขวาตัดกับสองเส้นแรก แล้วตวัดไปทางซ้าย
- ขีดเส้นโค้งหงายด้านล่างจากซ้ายไปขวา (เป็นการเขียนด้วยลายมือ ส่วนในงานพิมพ์ มักจะเชื่อมกับเส้นที่สาม)
คะตะกะนะ キ มีลำดับขีด 3 ขีดดังนี้
- ขีดเส้นนอนเฉียงขึ้นเล็กน้อยจากซ้ายไปขวา ในตำแหน่งกึ่งบน
- ขีดเส้นนอนเฉียงขึ้นเล็กน้อยจากซ้ายไปขวา ในตำแหน่งกลาง
- ขีดเส้นเฉียงลงด้านขวาตัดกับสองเส้นแรก
คันจิ
[แก้]ตัวอย่างคันจิที่อ่านว่าคิ และขึ้นต้นด้วยคิ มีดังนี้
- 企 伎 危 喜 器 基 奇 嬉 寄 岐 希 幾 忌 揮 机 旗 既 期 棋 棄
- 機 帰 毅 気 汽 畿 祈 季 稀 紀 徽 規 記 貴 起 軌 輝 飢 騎 鬼
- 亀 偽 儀 妓 宜 戯 技 擬 欺 犠 疑 祇 義 蟻 誼 議 掬 菊 鞠 吉
- 吃 喫 桔 橘 詰 砧 杵 黍 却 客 脚 虐 逆 丘 久 仇 休 及 吸 宮
- 弓 急 救 朽 求 汲 泣 灸 球 究 窮 笈 級 糾 給 旧 牛 去 居 巨
อ้างอิง
[แก้]- ↑ JIS拡張漢字(JIS X 0213:2004)(全コード表) (ญี่ปุ่น)