หู
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]พจนานุกรมภาพ | ||
---|---|---|
| ||
|
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | หู | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | hǔu |
ราชบัณฑิตยสภา | hu | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /huː˩˩˦/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *krwɯːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉᩪ (หู), ภาษาลาว ຫູ (หู), ภาษาไทลื้อ ᦠᦴ (หู), ภาษาไทใหญ่ ႁူ (หู), ภาษาเขิน ᩉᩪ (หู), ภาษาไทดำ ꪬꪴ (หุ), ภาษาไทใต้คง ᥞᥧᥴ (หู๋), ภาษาอ่ายตน ꩭူ (หู), ภาษาอาหม 𑜍𑜥 (รู), ภาษาจ้วง rwz,ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง hu
คำนาม
[แก้ไข]หู
- ส่วนหนึ่งของร่างกายคนและสัตว์ ทำหน้าที่สำหรับฟังเสียง
- ส่วนแห่งสิ่งของที่ทำไว้หิ้ว แขวน ร้อย หรือรูดเข้าออก
- หูกระทะ
- หูมุ้ง
- หูกางเกง
- หูถุง
- สิ่งที่ทำเป็นห่วงหรือเป็นวง ๆ
- หูแจว
- (ภาษาปาก) เรียกส่วนหูฟังและกระบอกพูดของเครื่องรับโทรศัพท์ ว่า หูโทรศัพท์
คำพ้องความ
[แก้ไข]- (อวัยวะ): ดูที่ อรรถาภิธาน:หู
รากศัพท์ 2
[แก้ไข]แผลงมาจาก หี
คำนาม
[แก้ไข]หู
- (ภาษาปาก, สแลง, ร้อยกรอง) อวัยวะเพศหญิง
- แล้วพาไปเที่ยวชมสวน เด็ดดอกลำดวนส่งให้ด้วยซี เสียบหูให้ตั้งหลายหน เสียบหล่นเสียบหล่นตั้งห้าหกที(เพลง ผู้ชายในฝัน)
- คันหูไม่รู้เป็นอะไร เอาสำลีมาปั่นก็ไม่หาย คันจริงมันคันอยู่ข้างใน คันหูทีไรขนลุกทุกที(เพลง คันหู)
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]หู
- อีกรูปหนึ่งของ ᩉᩪ (หู)
หมวดหมู่:
- พจนานุกรมภาพ
- สัมผัส:ภาษาไทย/uː
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- คำหลักภาษาไทย
- คำนามภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- ศัพท์ภาษาไทยที่เป็นภาษาปาก
- สแลงภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่ใช้ในบทร้อยกรอง
- th:กายวิภาคศาสตร์
- คำหลักภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมือง
- คำนามภาษาคำเมืองในอักษรไทย