ดอก
หน้าตา
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɓloːkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨯᩬᨠ (ดอก), ภาษาลาว ດອກ (ดอก), ภาษาไทลื้อ ᦡᦸᧅᧈ (ด่อ̂ก), ภาษาไทดำ ꪚꪮꪀ (บอก), ꪒꪮꪀ (ดอก), ภาษาไทใหญ่ မွၵ်ႇ (ม่อ̂ก), ဝွၵ်ႇ (ว่อ̂ก), ภาษาไทใต้คง ᥛᥩᥐᥱ (ม่อ̂ก), ภาษาพ่าเก မွက် (มอ̂ก์), ภาษาอาหม 𑜉𑜨𑜀𑜫 (มอ̂ก์), 𑜈𑜨𑜀𑜫 (บอ̂ก์), ภาษาจ้วงแบบหนง ndog, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง ndok (ดอก) (Jingxi) หรือ mbyok (บลอก) (Daxin); ร่วมรากกับ กระบอก and ตระบอก ในความหมาย “ดอกไม้”
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ | ดอก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | dɔ̀ɔk |
ราชบัณฑิตยสภา | dok | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /dɔːk̚˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
[แก้ไข]ดอก
- ส่วนหนึ่งของต้นไม้ที่ผลิออกจากต้นหรือกิ่ง มีหน้าที่ทำให้เกิดผลและเมล็ดเพื่อสืบพันธุ์ มีเกสรและเรณูเป็นเครื่องสืบพันธุ์
- ลวดลายบนผืนผ้าเป็นต้น ที่มีลักษณะเป็นดอกเป็นดวง
คำพ้องความ
[แก้ไข]- (ส่วนของต้นไม้): ดูที่ อรรถาภิธาน:ดอกไม้
คำแปลภาษาอื่น
[แก้ไข]ส่วนหนึ่งของต้นไม้ที่ผลิออกจากต้นหรือกิ่ง — ให้ดูที่ ดอกไม้
ภาษาคำเมือง
[แก้ไข]คำนาม
[แก้ไข]ดอก
- อีกรูปหนึ่งของ ᨯᩬᨠ (ดอก)