แอกทิไนด์
หน้าตา
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
เลขอะตอม | ชื่อไทย | ชื่ออังกฤษ | สัญลักษณ์ |
---|---|---|---|
89 | แอกทิเนียม | Actinium | Ac |
90 | ทอเรียม | Thorium | Th |
91 | โพรแทกทิเนียม | Protactinium | Pa |
92 | ยูเรเนียม | Uranium | U |
93 | เนปทูเนียม | Neptunium | Np |
94 | พลูโทเนียม | Plutonium | Pu |
95 | อะเมริเซียม | Americium | Am |
96 | คูเรียม | Curium | Cm |
97 | เบอร์คีเลียม | Berkelium | Bk |
98 | แคลิฟอร์เนียม | Californium | Cf |
99 | ไอน์สไตเนียม | Einsteinium | Es |
100 | เฟอร์เมียม | Fermium | Fm |
101 | เมนเดลีเวียม | Mendelevium | Md |
102 | โนเบเลียม | Nobelium | No |
103 | ลอว์เรนเซียม | Lawrencium | Lr |
แอกทิไนด์ (อังกฤษ: Actinide) เป็น อนุกรมเคมีของธาตุ ในตารางธาตุ จำนวน 15 ตัว ตั้งแต่ ธาตุแอกทิเนียม ถึง ธาตุลอว์เรนเซียม
สิ่งที่น่าสนใจ ได้แก่
- ชื่ออนุกรมมีที่มาจากชื่อธาตุแอกทิเนียม ซึ่งเป็นธาตุแรกในอนุกรม
- ธาตุทุกตัวในอนุกรมมีเลขอะตอมสูง และเป็นธาตุหายาก
- ธาตุทุกตัวในอนุกรมแอกทิไนด์อยู่ใน บล็อก-f ยกเว้นลอว์เรนเซียม
- ธาตุทุกตัวในอนุกรมแอกทิไนด์เป็นธาตุกัมมันตรังสี มีเลขอะตอมสูง มีครึ่งชีวิตสั้น
เกลือแอกทิไนด์
[แก้]ในกลุ่มธาตุแอกทิไนด์นี้ มีบางธาตุที่สามารถเป็นเกลือได้ เช่น ยูเรเนียมไทรคลอไรด์ (UCl3) เบอร์คีเลียมไทรคลอไรด์ (BkCl3) เป็นต้น
สูตรเคมี | AcCl3 | UCl3 | NpCl3 | PuCl3 | AmCl3 | CmCl3 | BkCl3 | CfCl3 |
เลขทะเบียน CAS | 22986-54-5 | 10025-93-1 | 20737-06-8 | 13569-62-5 | 13464-46-5 | 13537-20-7 | 13536-46-4 | 13536-90-8 |
มวล | 333.386 | 344.387 | 343.406 | 350.32 | 349.42 | 344–358** | 353.428 | 357.438 |
จุดหลอมเหลว | 837 °C | 800 °C | 767 °C | 715 °C | 695 °C | 603 °C | 545 °C | |
จุดเดือด | 1657 °C | 1767 °C | 850 °C | |||||
โครงสร้างคริสตัล | An3+: __ / Cl−: __ | |||||||
Space group | P63/m | |||||||
เลขโคออร์ดิเนชัน | An*[9], Cl [3] | |||||||
ค่าคงที่ของแลกทิช | a = 762 pm c = 455 pm |
a = 745.2 pm c = 432.8 pm |
a = 739.4 pm c = 424.3 pm |
a = 738.2 pm c = 421.4 pm |
a = 726 pm c = 414 pm |
a = 738.2 pm c = 412.7 pm |
a = 738 pm c = 409 pm |
- *An – actinide
**Depending on the isotopes
สารประกอบ | สี | ความสมมาตรของคริสตัล, รูปแบบ | ค่าคงที่ของแลตทิช, Å (อังสตรอม) | ความหนาแน่น, g/cm3 | ||
---|---|---|---|---|---|---|
a | b | c | ||||
AcF3 | ขาว | เฮกซะโกนัล, LaF3 | 4.27 | - | 7.53 | 7.88 |
PaF4 | น้ำตาลเข้ม | โมโนคลินิก | 12.7 | 10.7 | 8.42 | – |
PaF5 | ดำ | เททระโกนัล, β-UF5 | 11.53 | - | 5.19 | – |
ThF4 | ไม่มีสี | โมโนคลินิก | 13 | 10.99 | 8.58 | 5.71 |
UF3 | สีม่วงแดงเรื่อๆ | เฮกซะโกนัล | 7.18 | - | 7.34 | 8.54 |
UF4 | เขียว | โมโนคลินิก | 11.27 | 10.75 | 8.40 | 6.72 |
α-UF5 | น้ำเงินอ่อน | เททระโกนัล | 6.52 | - | 4.47 | 5.81 |
β-UF5 | น้ำเงินอ่อน | เททระโกนัล | 11.47 | - | 5.20 | 6.45 |
UF6 | ค่อนข้างเหลือง | ออกทอร์ฮอมบิก | 9.92 | 8.95 | 5.19 | 5.06 |
NpF3 | ดำหรือม่วง | เฮกซะโกนัล | 7.129 | - | 7.288 | 9.12 |
NpF4 | เขียวอ่อน | โมโนคลินิก | 12.67 | 10.62 | 8.41 | 6.8 |
NpF6 | ส้ม | ออกทอร์ฮอมบิก | 9.91 | 8.97 | 5.21 | 5 |
PuF3 | ม่วงน้ำเงิน | ไทรโกนัล | 7.09 | - | 7.25 | 9.32 |
PuF4 | น้ำตาลอ่อน | โมโนคลินิก | 12.59 | 10.57 | 8.28 | 6.96 |
PuF6 | น้ำตาลแดง | ออกทอร์ฮอมบิก | 9.95 | 9.02 | 3.26 | 4.86 |
AmF3 | ชมพูหรือครีมอ่อน | เฮกซะโกนัล, LaF3 | 7.04[6][7] | - | 7.255 | 9.53 |
AmF4 | ส้มแดง | โมโนคลินิก | 12.53 | 10.51 | 8.20 | – |
CmF3 | จากน้ำตาลถึงขาว | เฮกซะโกนัล | 4.041 | - | 7.179 | 9.7 |
CmF4 | เหลือง | โมโนคลินิก, UF4 | 12.51 | 10.51 | 8.20 | – |
BkF3 | เขียวเหลือง | ไทรโกนัล, LaF3 ออกทอร์ฮอมบิก, YF3 |
6.97 6.7 |
- 7.09 |
7.14 4.41 |
10.15 9.7 |
BkF4 | - | Monoclinic, UF4 | 12.47 | 10.58 | 8.17 | – |
CfF3 | - - |
ไทรโกนัล, LaF3 ออกทอร์ฮอมบิก, YF3 |
6. 94 6.65 |
- 7.04 |
7.10 4.39 |
– |
CfF4 | - - |
โมโนคลินิก, UF4 โมโนคลินิก, UF4 |
1.242 1.233 |
1.047 1.040 |
8.126 8.113 |
– |
เอคา-แอกทิไนด์
[แก้]ธาตุในเอคา-แอกทิไนด์มีการต้นพบในบางธาตุ แต่ส่วนใหญ่ยังไม่ถูกค้นพบ เข่น อูนควอด์เฮกเซียม เป็นต้น
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 Greenwood, p. 1270
- ↑ V.A. Mikhailov, บ.ก. (1971). Analytical chemistry of neptunium. Moscow: Nauka.
- ↑ E.S. Palshin (1968). Analytical chemistry of protactinium. Moscow: Nauka.
- ↑ "Таблица Inorganic and Coordination compounds" (ภาษารัสเซีย). สืบค้นเมื่อ 11 July 2010.
- ↑ Myasoedov, pp. 96–99
- ↑ F. Weigel; J. Katz; G. Seaborg (1997). The Chemistry of the Actinide Elements. Vol. 2. Moscow: Mir. ISBN 5-03-001885-9.
- ↑ Nave, S.; Haire, R.; Huray, Paul (1983). "Magnetic properties of actinide elements having the 5f6 and 5f7 electronic configurations". Physical Review B. 28: 2317. Bibcode:1983PhRvB..28.2317N. doi:10.1103/PhysRevB.28.2317.