iBet uBet web content aggregator. Adding the entire web to your favor.
iBet uBet web content aggregator. Adding the entire web to your favor.



Link to original content: http://th.wikipedia.org/wiki/เพลงประจำสาธารณรัฐชูวาเชีย
เพลงประจำสาธารณรัฐชูวาเชีย - วิกิพีเดีย ข้ามไปเนื้อหา

เพลงประจำสาธารณรัฐชูวาเชีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Çovaş Respublikin patşaloh gimnö
Чӑваш Республикин патшалӑх гимнӗ
ตราแผ่นดินสาธารณรัฐชูวัช

เพลงชาติของสาธารณรัฐชูวาเชีย (รัสเซีย)
เนื้อร้องอิลยา ตุกตาช[1]
ทำนองเกร์มาน เลเบเดฟ[1]
รับไปใช้14 กรกฎาคม 1997
ตัวอย่างเสียง
เพลงประจำสาธารณรัฐชูวัช

เพลงประจำสาธารณรัฐชูวัช (ชูวัช: Чӑваш Республикин патшалӑх гимнӗ, Covas Respublikin patşaloh gimnö; รัสเซีย: Государственный гимн Чувашской Республики) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "โอ้มาตุภูมิ" (ชูวัช: Тӑван ҫӗршыв, Tovan cörşıv)[1][2][3] เป็นเพลงประจำสาธารณรัฐชูวาเชีย แห่งประเทศรัสเซีย ซึ่งอยู่ในอำนาจของรัฐบาลกลางรัสเซีย ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการในปี ค.ศ. 1997 เนื้อร้องประพันธ์โดย อิลยา ตุกตาช (Ilya Tuktash) และทำนองประพันธ์โดย เกร์มาน เลเบเดฟ (German Lebedev)[1][2][4]

ประวัติ

[แก้]

เวอร์ชั่นแรก

[แก้]

โดยในแนวคิดแรกเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1905 เกี่ยวข้องกับการประพันธ์เพลงสรรเสริญแบบสากลเพลงใหม่ ในขณะนั้น ยาคอฟ ตูฮาน (Yakov Turkhan) ได้ประพันธ์เนื้อร้องและทำนองเพลงสรรเสริญแห่งจักรวรรดิรัสเซีย และเขาได้นำไปตีพิมพ์บทเพลงดังกล่าวในหนังสือพิมพ์ Hypar ฉบับแรกในเดือนมกราคม ค.ศ. 1906 ช่วงฤดูใบไม้ร่วงในปี ค.ศ. 1917 บาทหลวง ทาราส คิริลลอฟ (Taras Kirillov) นักเขียนและนักแต่งบทกวี "Чӑваш халӑх юрри" (Çovaş haloh yurri) ชวาช ฮาโลห์ ยูริ ซึ่งในตอนแรกเพลงนี้ไม่ประสบความสำเร็จ แต่ในช่วงต้นเดือนมกราคม ค.ศ. 1918 Tikhon Alekseyev หัวหน้าคณะนักร้องประสานเสียงชาวชูวัช ในเมืองคาซาน ได้แต่งเพลงสรรเสริญขึ้น ซึ่งต่อมาได้รับการสนับสนุนจากกลุ่มปัญญาชนชาวชูวัชทั้งหมด โดยเวอร์ชันหนึ่งมีทำนองได้อิงมาจากจาก "Long live Russia, a free country" ซึ่งแต่งโดย Aleksandr Grechaninov [5]และคำแปลด้วยเครื่องหมายข้างใต้ยังคงอยู่

เพลงสรรเสิรญถูกนำมาแสดง ในเดือนมกราคม ค.ศ.1918 (หลังจากสิ้นสุดสาธารณรัฐรัสเซีย) โดยคณะนักร้องประสานเสียงชาวชูวัช ในเมืองคาซาน หลังจากของละครระดับชาติเปิดตัวรอบปฐมทัศน์ครั้งแรกโดย Maximovich-Koshkinsky ซึ่งอ้างอิงมาจากละครเรื่อง Live Not as You would Like To โดย Alexander Ostrovsky

ความนิยมเพิ่มมากขึ้นและได้ดำเนินการทั้งหมด อย่างไรก็ตาม จึงไม่ได้รับสถานะเพลงสรรเสริญอย่างเป็นทางการในขณะนั้น[6]

เวอร์ชั่นทันสมัย

[แก้]

เวอร์ชันปัจจุบันได้มีรากฐานมาจากเพลง โอ้ มาตุภูมิ (ชูวัช: Тӑван Ҫӗршыв) ซึ่งได้แต่เพลงขึ้นในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 โดย อิลยา ตุกตาช นักเขียนชาวชูวัช และ เยอรมัน เลเบเดฟ ศิลปินเกียรติมาศักดิ์ของสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย[7]

นักแต่งเพลงชื่อ German Lebedev ได้แต่งทำนองขึ้นเพื่อใช้ในบทละครเรื่อง Pyotr Osipov "ในดินแดนของเขา" ซึ่งจัดแสดงที่ Chuvash Academic Theatre ระหว่างปี ค.ศ.1944 ถึง ค.ศ.1945 หลังจากการแสดงครั้งแรกสิ้นสุดลง ผู้ชมรู้ต่างสึกประทับใจ ซึ่งเป็นครั้งแรกที่เพลงนี้ได้รับสถานะเป็นเพลงสรรเสริญอย่างไม่เป็นทางการของรัฐชูวาเชีย เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม ค.ศ. 1950 จากนั้นใน Hall of Columns of the House of Unions ในกรุงมอสโก ได้มีการเฉลิมฉลองครบรอบ 30 ปีของ ปกครองตนเองชูวัชแห่งสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียต จัดแสดงในตอนเย็นอันเคร่งขรึมนี้ ได้เล่นเพลงพร้อมกับวงดุริยางค์ซิมโฟนี คณะนักร้อง และนักเต้นรัฐชูวัช[8]

เพลงนี้จึงกลายเป็นเพลงสรรเสิรญอย่างเป็นทางการหลังจากที่ได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1997 โดยสภาแห่งสาธารณรัฐแห่งกฎหมายชูวัช "สัญลักษณ์แห่งสาธารณรัฐชูวัช" ซึ่งได้รับการอนุมัติและลงนามโดยหัวหน้านิโคไล ฟีโอโดรอฟ เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ.1997[9]

วันที่ 29 เมษายน เป็นวันหยุดที่สำคัญในสาธารณรัฐชูวาเชีย ซึ่งมีการเฉลิมฉลองวันแห่งสัญลักษณ์ประจำชาติของสาธารณรัฐ รวมถึงร้องเพลงสรรเสริญ ตราสัญลักษณ์ และธง ซึ่งทั้งหมดนี้มีการเฉลิมฉลองมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 2004 ข้อกำหนดของประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐชูวัช เมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2547 ฉบับที่ 24 "ในวันสัญลักษณ์แห่งสาธารณรัฐชูวาเชีย" และกฎหมายแห่งสาธารณรัฐชูวาเชีย เมื่อวันที่ 19 เมษายน ค.ศ. 2004 ฉบับที่ 1 "ในวันสัญลักษณ์แห่งสาธารณรัฐชูวาเชีย"

เนื้อร้อง

[แก้]

เนื้อร้องภาษาชูวัช

[แก้]
อักษรซิริลลิก อักษรโรมัน แพน-เติร์ก สัทอักษร(IPA)

Пӗрремӗш куплет:
Ҫурхи тӗнче вӑраннӑ чух,
Хаваслӑ кун шӑраннӑ чух,
Чун савӑнать: чӗре сикет,
Ҫӗршывӑм ҫинчен юрлас килет.

Хушса юрламалли:
Тӑван ҫӗршыв,
Тӑван ҫӗршыв,
Асран кайми
Юратнӑ ҫӗршыв.
Тӑван ҫӗршыв,
Тӑван ҫӗршыв,
Мухтав сана,
Ҫуралнӑ ҫӗршыв!

Иккӗмӗш куплет:
Яшсем–херсем вылянӑ чух,
Атте–анне ӑс панӑ чух,
Чун савӑнать, чӗре сикет,
Татах та нумай пурнас килет.

Хушса юрламалли

Виҫҫӗмӗш куплет:
Тӑвансемпе пӗрлешнӗ чух,
Чӑваш тӗнчи ҫӗкленнӗ чух,
Чун савӑнать: чӗре сикет,
Татах та хастар пулас килет.

Хушса юрламалли
[2][10]

Pörremöş kuplet:
Curhi tönçe voranno çuh,
Havaslo kun şoranno çuh,
Çun savonaty: çöre siket,
Cörşıvom cinçen yurlas kilet.

Huşsa yurlamalli:
Tovan cörşıv,
Tovan cörşıv,
Asran kaymi
Yuratno cörşıv.
Tovan cörşıv,
Tovan cörşıv,
Muhtav sana,
Curalno cörşıv!

İkkömöş kuplet:
Yaşsem–hersem vılyano çuh,
Atte–anne os pano çuh,
Çun savonaty, çöre siket,
Tatah ta numay purnas kilet.

Huşsa yurlamalli

Viccömöş kuplet:
Tovansempe pörleşnö çuh,
Çovaş tönçi cöklennö çuh,
Çun savonaty: çöre siket,
Tatah ta hastar pulas kilet.

Huşsa yurlamalli[11][a]

/pɘrrɛmɘʂ kuplɛt/
/ɕurχi tɘnt͡ɕɛ ʋɒranna t͡ɕuχ/
/χaʋaslɒ kun ʂɒrannɒ t͡ɕuχ/
/t͡ɕun saʋɒnatʲ t͡ɕɘrɛ sikɛt/
/ɕɘrʂɯʋɒm ɕint͡ɕɛn jurlas kilɛt/

/χuʂsa jurlamalli/
/tɒʋan ɕɘrʂɯʋ/
/tɒʋan ɕɘrʂɯʋ/
/asran kajmi/
/juratnɒ ɕɘrʂɯʋ/
/tɒʋan ɕɘrʂɯʋ/
/tɒʋan ɕɘrʂɯʋ/
/muχtaʋ sana/
/ɕuralnɒ ɕɘrʂɯʋ/

/ikkɘmɘʂ kuplɛt/
/jaʂsɛm χɛrsɛm ʋɯljanɒ t͡ɕuχ/
/attɛ annɛ ɒs panɒ t͡ɕuχ/
/t͡ɕun saʋɒnatʲ t͡ɕɘrɛ sikɛt/
/tataχ ta numaj purnas kilɛt/

/χuʂsa jurlamalli/

/ʋiɕɕɘmɘʂ kuplɛt/
/tɒʋansɛmpɛ pɘrlɛʂnɘ t͡ɕuχ/
/t͡ɕɒʋaʂ tɘnt͡ɕi ɕɘklɛnnɘ t͡ɕuχ/
/t͡ɕun saʋɒnatʲ t͡ɕɘrɛ sikɛt/
/tataχ ta χastar pulas kilɛt/

/χuʂsa jurlamalli/

แปลภาษารัสเซียและภาษาไทย

[แก้]
อักษรซิริลลิก อักษรละติน แปลภาษาไทย

I
Когда весны высокий свод,
Лучи живые щедро льёт, —
На добрый лад судьбу верша,
О крае родном поёт душа.

Припев:
Поклон тебе,
О Родина,
Красавица
На все времена.
Поклон тебе,
О Родина,
Да славится
Родная страна!

II
Отцам на смену выйдя в путь,
Ты, юность, им опорой будь.
На добрый лад судьбу верша,
О жизни большой поёт душа.

Припев

III
Народ народу — друг и брат,
Отныне и чуваш крылат,
На добрый лад судьбу верша,
О силе людской поёт душа.

Припев

I
Kogda vesny vysokij svod,
Luči živyje šcedro ljjot, —
Na dobryj lad sudjbu verša,
O kraje rodnom pojot duša.

Pripev:
Poklon tebe,
O Rodina,
Krasavica
Na vse vremena.
Poklon tebe,
O Rodina,
Da slavitsja
Rodnaja strana!

II
Otcam na smenu vyjdja v putj,
Ty, junostj, im oporoj budj.
Na dobryj lad sudjbu verša,
O žizni boljšoj pojot duša.

Pripev

III
Narod narodu — drug i brat,
Otnyne i čuvaš krylat,
Na dobry lad sudjbu verša,
O sile ljudskoj pojot duša.

Pripev

 1
เมื่อใบไม้ผลิตื่นขึ้นมาบนโลก
เมื่อได้ยินเสียงระรัวในวันที่ครื้นเครง
จิตวิญญาณของข้ามีความยินดี หัวใจของข้าเต้นรำ
ข้าต้องการร้องเพลงเกี่ยวกับประเทศของข้า

ประสานเสียง:
โอ้ มาตุภูมิ
โอ้ มาตุภูมิ
เป็นสิ่งที่น่าจดจำ
มาตุภูมิที่รัก
โอ้ มาตุภูมิ
โอ้ มาตุภูมิ
เป็นการสรรเสริญแด่เจ้า
มาตุภูมิของข้า

2
เมื่อหนุ่มสาวครื้นเครง
เมื่อบิดามารดาเตือนสติ
จิตวิญญาณของข้ามีความยินดี หัวใจของข้าเต้นรำ
ข้าต้องการร้องเพลงเกี่ยวกับประเทศของข้า

ประสานเสียง

3
เมื่อเครือญาติมารวมกัน
และเมื่อชาวชูวัชตื่นขึ้นมาบนโลก
จิตวิญญาณของข้ามีความยินดี หัวใจของข้าเต้นรำ
ด้วยพลังของผู้คน ข้าร้องเพลงด้วยจิตวิญญาณของข้า

ประสานเสียง

[1]

อ้าอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 "National Anthem". Chuvash People's Website. 2015-05-25.
  2. 2.0 2.1 2.2 "Гимн Чувашской Республики". gov.cap.ru.
  3. ""Чӑваш Республикин патшалӑх символӗсем" Викторина (in Chuvash)". gym1-marpos.edu21.cap.ru. 2016-04-21.
  4. "Чӑваш Республикин тытӑмӗ тата символӗсем (in Chuvash)". Чӑваш Республикин наци библиотеки. 2017-01-13. สืบค้นเมื่อ 2019-01-10.
  5. "В поисках символики // Зал государственных символов". Национальная библиотека Чувашской Республики, www.nbchr.ru. สืบค้นเมื่อ 12 May 2018.
  6. Сергей Щербаков. "Из истории первых государственных символов чувашского народа (2008)". БУ «Госистархив Чувашской Республики» Минкультуры Чувашии, www.gia.archives21.ru. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-24. สืบค้นเมื่อ 2017-09-24.
  7. "Авторы Государственного гимна Чувашской Республики". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-09-13. สืบค้นเมื่อ 2021-09-13.
  8. История создания гимна
  9. Закон Чувашской Республики от 14 июля 1997 г. № 12 «О государственных символах Чувашской Республики»
  10. "Тӑван ҫӗршыв". anthems.lidicity.com.
  11. https://transliteration.eki.ee/pdf/Chuvash.pdf

หมายเหตุ

[แก้]
  1. The transliteration is a modified version of the KNAB 1995 Romanization. It features letters from the Turkish and Tatar alphabets. For example, cedillas ⟨ç, ş⟩ replace carons ⟨č, š⟩ (for ⟨ч, ш⟩) and breves ⟨ă, ĕ⟩ aren't retained in transliteration. Instead, the latter uses ⟨o, ö⟩ [ə~ɔ~ɒ, ɘ~ø]. The letter ⟨y⟩ replaces ⟨j⟩ /j/ and is also used in place of ⟨ь⟩ after ⟨л, н, р, т⟩ (for palatalization /ʲ/). Additionally, the character ⟨х⟩ is variously transliterated as either ⟨h, x⟩ since it represents the voiceless uvular fricative phoneme /χ/ and not a voiceless glottal fricative /h/. Because Chuvash is a Turkic language, pan-Turkicists are often in favour of a Romanization based on the Common Turkic Alphabet.

แหล่งข้อมูล

[แก้]